สมุนไพรแสงจันทร์ รักษา ริดสีดวงทวาร
ระยะที่ 1 : อาการริดสีดวง มีเส้นเลือดดำโป่งพองในทวารหนัก จะมีเลือดไหลออกมาเวลาเบ่งถ่ายอุจจาระ และถ้าท้องผูก เลือดก็จะออกมากขึ้น ริดสีดวงภายใน อาจมีอาการถ่ายเป็นเลือด หรือ อุจจาระเป็นเลือด
เพราะไม่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า หรือเมื่อจับหรือคลำดูจะไม่ผิดสังเกต ก็เนื่องมาจากริดสีดวงยังไม่โผล่ออกมานอกร่างกาย เมื่อเป็น ริดสีดวงนี้ การรักษาจึงทำได้ง่ายกว่าระยะอื่น ๆ และใช้ระยะเวลาในการรักษาให้หายเป็นปกติน้อยกว่าระยะอื่น ๆ โดยการรักษาทำได้โดย รักษาในระดับทั่วไป ดังนี้
ระยะที่ 2 : อาการริดสีดวง หัวริดสีดวงทวารโตมากขึ้น เริ่มโผล่ออกมาพ้นทวารหนัก เวลาเบ่งอุจจาระจะออกมาให้เห็นมากขึ้น และหดกลับได้เองหลังการขับถ่าย ริดสีดวงภายใน อาจมีอาการถ่ายเป็นเลือด หรือ อุจจาระเป็นเลือด
หัวของริดสีดวงมีขนาดใหญ่ขึ้นจากระยะแรก โดยติ่งริดสีดวงจะสามารถยืดออกมาเมื่อมีการขับถ่ายอุจจาระ และเมื่อขับถ่ายเรียบร้อย หัวริดสีดวงจะหดกลับเข้าไปตำแหน่งเดิม ในระยะที่ 2 นี้ ผู้ป่วยอาจจะรู้สึก เจ็บ ๆ คัน ๆ บริเวณช่องท้องร่วมด้วย โดยการรักษาในระยะนี้ มีดังนี้
อย่างไรก็ดี การรักษาแบบเฉพาะเจาะจง หรือการใช้อินฟราเรด และ กระแสไฟฟ้าในการรักษา ริดสีดวง ระยะ 2 เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการแล้ว จะต้องมีการรักษาโรคด้วยวิธีการรักษาระดับทั่วไป รวมทั้งการใช้ยาสวนทวารอาทิตย์ละ 1 ครั้ง หากยังมีอาการปวดอยู่
ระยะที่ 3 : อาการริดสีดวง หัวริดสีดวงทวารจะโผล่ออกมามากกว่าเดิม เวลาไอจาม หรือยกของหนักๆ ที่ต้องเกร็งท้อง จะเกิดการเบ่ง ให้หัวริดสีดวงทวารออกมาข้างนอก อาจมีอาการถ่ายเป็นเลือด หรืออุจจาระเป็นเลือด ริดสีดวงภายนอก และไม่สามารถหดกลับเข้าไปได้เอง ต้องใช้นิ้วช่วยดันกลับเข้าไป
โดยในระยะนี้ เมื่อมีอาการไอ ริดสีดวงก็จะสามารถโผล่ออกมาจากทวารหนักได้ และมักพบเลือดไหลในขณะอุจจาระ หรือเมื่ออุจจาระเสร็จเรียบร้อยแล้วมักพบเลือดอยู่เสมอ นอกจากนี้ ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการเจ็บริดสีดวงรุนแรงมากยิ่งขึ้น โดยการรักษาในระยะนี้สามารถทำได้ โดย
ระยะที่ 4 : อาการริดสีดวง หัวริดสีดวงโตมากขึ้น สามารถมองเห็นจากภายนอกได้ชัดเจน เรียกว่า ริดสีดวงภายนอก มีอาการบวม อักเสบและอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงมาก โดยมีเลือดออกมาเสมอ อาจเป็นน้ำเหลืองเมือกลื่น และมีอุจจาระออกมาได้ ทำให้เกิดความสกปรกและเปียกชื้นตลอดเวลา อาจมีอาการคันที่ขอบปากทวารร่วมด้วย บางครั้งอาจเน่าและอักเสบมากขึ้น อาจมีอาการถ่ายเป็นเลือด หรืออุจจาระเป็นเลือด นำมาซึ่งการติดเชื้อได้ง่าย และถ้ามีเลือดออกอยู่เรื่อยๆ จะทำให้ซีด อ่อนเพลีย น้ำหนักลด
จนทำให้ร่างกายของผู้ป่วยมีอาการซีดเหลือง เนื่องจากการเสียเลือดอย่างต่อเนื่อง ในระยะนี้จะทำให้ผู้ป่วยที่เป็นริดสีดวงเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน และอาจจะเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้อีกด้วย โดยวิธีการรักษาริดสีดวงระยะนี้ สามารถทำได้คล้ายกับระยะที่ 3 โดย